5 มีนาคม 2567…ปัญหา “ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา” ถือเป็นปัญหาเรื้อรังในสังคมไทยมานาน และยิ่งขยายช่องว่างกว้างขึ้นในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 ซึ่งผู้ปกครองจำนวนมากมีรายได้ลดลง โดยข้อมูลจากกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ระบุว่าในปีการศึกษา 1/2564 มีเด็กยากจนและยากจนพิเศษรวมประมาณ 1.9 ล้านคน รายได้ของครอบครัวเด็กและเยาวชนกลุ่มนี้เหลือเฉลี่ยเพียงเดือนละ 1,094 บาทเท่านั้น ในขณะที่มีค่าใช้จ่ายในการเรียนของลูกหลานเพิ่มมากขึ้น เช่น ค่าอุปกรณ์การเรียนผ่านออนไลน์ ค่าอินเตอร์เน็ต ทำให้มีเด็กจำนวนมากไม่สามารถไปต่อในระบบการศึกษาของไทย
CSR
AIS x กระทรวง พม.นำหลักสูตร “อุ่นใจไซเบอร์” ส่งตรงถึงบุคลากร ก่อนขยายผลองค์ความรู้ประเดิมผู้สูงวัย
29 กุมภาพันธ์ 2567…ปัจจุบันภัยไซเบอร์ไม่ใช่เรื่องใหม่แต่เป็นเรื่องใหญ่และใกล้ตัวเรามากกว่าที่คิด ทุกวันนี้มิจฉาชีพสร้างกลโกงใหม่ ด้วยวิธีการแปลกๆ มาเพื่อหลอกลวงประชาชนอยู่ตลอดเวลา จากข้อมูลของตำรวจไซเบอร์พบว่าในปี 2566 ภัยทางไซเบอร์สร้างความเสียหายมูลค่าสูงกว่า 4.9 หมื่นล้านบาท ขณะที่ Thailand Cyber Wellness Index : TCWI ระบุว่า คนไทยทุกเพศทุกวัยกว่า 44.04% เสี่ยงต่อภัยทางไซเบอร์ โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่มีจำนวนกว่า 13 ล้านคนในประเทศไทย
11 กุมภาพันธ์ 2566..การบรรลุเป้าหมายความยั่งยืนในอุตสาหกรรมฟาสต์แฟชั่นต้องใช้แนวทางแบบองค์รวมที่คำนึงถึงข้อพิจารณาด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทาน โดยแบรนด์ฟาสต์แฟชั่นสามารถดำเนินการเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมอนาคตที่ยั่งยืนยิ่งขึ้นสำหรับอุตสาหกรรมแฟชั่นด้วยการใช้แนวทางปฏิบัติที่ยั่งยืนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง
8-9 กุมภาพันธ์ 2567….นับเป็นการจุดประกายและพัฒนาศักยภาพจากศูนย์เรียนรู้ไฟ-ฟ้า ทั้ง 5 แห่ง ครั้งสำคัญของ โครงการ ไฟ-ฟ้า โดย ทีทีบี ที่นำผลงานศิลปะเด็กไฟ-ฟ้า จุดประกายสู่สังคมในวงกว้าง ในพื้นที่ที่สามารถสัมผัสประสบการณ์ทางศิลปะที่หลากหลาย ทั้งศิลปินไทยและศิลปินต่างชาติ โดยเป็นอีกครั้งที่ MOCA BANGKOK เปิดพื้นที่ให้เยาวชนนำเสนอผลงานศิลปะผ่านนิทรรศการ ซึ่งเป็นผลงานที่มีความโดดเด่นของเด็กไฟ-ฟ้า ที่ได้รับการจุดประกายทางด้านศิลปะ ภายใต้แนวคิด “เด็กธรรมดา…คือสิ่งสวยงาม” นำเสนอให้สังคมได้เห็นพลังของเด็ก ๆ ที่ซ่อนอยู่เพื่อรอ “โอกาส” และ “การให้”
23-24 ธันวาคม 2566…เมื่อ AFTERKLASS Business KAMP ปีที่ 4 เสริมสร้างสมรรถนะของนักเรียนมัธยมปลาย ให้มีองค์ความรู้ใหม่และทักษะใหม่ที่แตกต่างจากการเรียนในห้องเรียน ผ่านกิจกรรมเป็นการแข่งขันในรูปแบบ Hackathon โดยธนาคารกสิกรไทยร่วมกับมูลนิธิเพาะพันธุ์ปัญญา ได้การประกาศทีมที่ชนะเลิศ คือทีมเก๋ากี่ – How are you Online Application Platform ที่จะเป็นเหมือนเพื่อนที่พร้อมจะรับฟัง ให้กำลังใจ และเป็นที่พักใจสำหรับทุกคน เป็นโครงการที่เชื่อมโยงกับ “คน” เป็นหลัก ใช้เทคโนโลยีเป็นเพียง “เครื่องมือ” เท่านั้น