Browsing Tag
Green Bond
3 พฤศจิกายน 2566…AIS The StartUp ตอกย้ำเป้าหมาย Partnership for Inclusive Growth เปิดเส้นทางแห่งโอกาสจากนวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม และส่งต่อประโยชน์สู่สังคมอย่างยั่งยืน
Continue Reading
2 พฤศจิกายน 2566…ตอกย้ำการดำเนินธุรกิจการผลิตไฟฟ้าพลังสะอาดเพื่อสร้างเสถียรภาพให้ประเทศไทย และช่วยให้สามารถขับเคลื่อนการเปลี่ยนผ่านสู่การใช้พลังงานหมุนเวียนในอนาคต
Continue Reading
22-23 ตุลาคม 2566…เป็นที่ทราบกันดีว่า ปีนี้เป็นปีที่มีปรากฏการณ์ “เอลนีโญ” ซึ่งจะทำให้สภาพอากาศแปรปรวนไป 3-5 ปี โดยข้อมูลจากกรมอุตุนิยมวิทยาคาดการณ์ว่า จะเริ่มตั้งแต่ปีนี้ ถึงปี 2571 ประเทศไทยซึ่งอยู่ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้องพบเจอกับความแห้งแล้งตั้งแต่ปีนี้เช่นกัน
Continue Reading
27 กรกฎาคม 2565…โอกาสและความท้าทายที่สำคัญที่จะลดผลกระทบเชิงลบที่มีต่อโลกและประชาคมโลกอย่างมีนัยยะสำคัญ ด้วยการผนวกมิติด้าน ESG เข้ากับการดำเนินธุรกิจในกลยทุธ์ นโยบาย และเป้าหมายทางธุรกิจ การใช้ ESG เป็นเครื่องมือในการแข่งขันทางธุรกิจ การฟื้นฟูธุรกิจภายหลังโควิด-19 พัฒนาการด้านกฎระเบียบต่าง ๆ สร้างพอร์ตสินเชื่อที่สมดุล การผสานความแข็งแกร่งกับ MUFG
Continue Reading
26 กรกฎาคม 2565… ตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืนในปี 2021 มีมูลค่า 929,700 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งเติบโต 10 เท่าในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ในขณะมูลค่าสินเชื่อเพื่อความยั่งยืนในปี 2021 มีมูลค่า 716,561 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือเติบโต 7 เท่าจากปี 2018 ขณะที่ประเทศไทย ณ ไตรมาส 2 ปี 2022 มีมูลค่าตราสารหนี้คงค้างด้านความยั่งยืน จำนวน 330,049 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่เป็น Sustainability Bond ของรัฐบาล ลำดับถัดมาคือ Green Bond เพื่อใช้ในโครงการด้านพลังงาน
Continue Reading
17 พฤษภาคม 2564…เพื่อเป็นเครื่องมือระดมทุนสำหรับกิจการที่คำนึงถึงความยั่งยืนและผนวกปัจจัยด้าน ESG เข้ากับการดำเนินธุรกิจ พร้อมยกเว้นค่าธรรมเนียมการยื่นคำขออนุญาตและค่าธรรมเนียมการยื่นแบบไฟลิ่ง
Continue Reading
22 กุมภาพันธ์ 2564…เป้าหมายใช้เป็นเงินทุนขับเคลื่อนโครงการยานพาหนะที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม บริษัทรับรองผลกำไรขั้นต่ำและอัตราดอกเบี้ยที่จะได้รับอเมื่อเทียบกับพันธบัตรทั่วโลกทั้งหมดที่เปิดตัวมาแล้ว
30 มกราคม 2564…นักลงทุนด้านสิ่งแวดล้อมสังคมและธรรมาภิบาล (ESG) คาดว่าจะมุ่งเน้นไปที่การหาแนวทางใหม่ในประเด็นความเหลื่อมทางสังคมในปี 2021 เนื่องจากแนวทางดั้งเดิมในการจัดการกับความเหลื่อมล้ำทางสังคมภายใต้กรอบ ESG ได้แสดงให้เห็นช่วงการระบาดใหญ่ซึ่งไม่เพียงพอสำหรับการแก้ปัญหา ส่งผลให้นักลงทุนหันมาใช้เป้าหมายการพัฒนาสังคม (SDGs) ของสหประชาชาติเพื่อกำหนดแนวทางแทน
Continue Reading