CIRCULAR ECONOMY
ถอดบทเรียน 4 ปัจจัยจาก“โครงการสถานีขยะล่องหน” โดย Care the Whale ได้ทั้งข้อมูล งานวิจัย สิ่งของเครื่องใช้จากการ Reuse ,Recycle ,Upcycling และขยายผลขยะอาหารสู่ปุ๋ยอินทรีย์สั่งได้
3 พฤษภาคม 2566…โครงการ Care the Whale “ขยะล่องหน” ภายใต้การดำเนินงานของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้สร้างพื้นที่ความร่วมมือในการส่งเสริมการบริหารการจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชน นำร่อง “สถานีขยะล่องหน ” บนพื้นที่ชุมชนคุ้งบางกะเจ้า จ. สมุทรปราการ เป็นปีที่3เพื่อสร้างจิตสำนึกและปรับพฤติกรรมให้กับชุมชนคุ้งบางกะเจ้าทั้ง 6 ตำบล โดยมีสถานีหลักอยู่ที่วัดจากแดง รับขยะประเภทขวดขุ่น ขวดใส ขวดแก้ว ถุงใส เศษผ้า เพื่อนำไปให้ชุมชน Recycle ,Upcycling และปีนี้เพิ่มขยะเศษอาหาร เป็นหนึ่งในประเภทขยะที่ชุมชนสามารถมาแลกเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค
27 กุมภาพันธ์ 2566…ทิศทางการดำเนินธุรกิจปี 2566 มุ่งประสานธุรกิจพลังงานและไลฟ์สไตล์ เพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้กับระบบนิเวศของ OR ผ่านการเสริมความเข้มแข็งของแต่ละธุรกิจให้สามารถตอบโจทย์วิถีชีวิตแห่งอนาคต รวมถึงผนึกกำลังทั้งภายในและภายนอกกลุ่ม ปตท. พร้อมเปิดประตูความร่วมมือสู่การเติบโตร่วมกันอย่างยั่งยืน
24 กุมภาพันธ์ 2566…ด้วยจำนวนของแกดเจ็ตและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ผลิตออกมาทุกปีโดยแบรนด์ต่างๆ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์จึงเป็นหนึ่งในผู้ก่อมลพิษมากที่สุด ช่วงหลายปีที่ผ่านมา แบรนด์ต่าง ๆ ที่หันมาใส่ใจวิธีผลิตอุปกรณ์ของตนมากขึ้น และพยายามทำให้แน่ใจว่า ห่วงโซ่อุปทานทั้งหมดของพวกเขาเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น
20-21 มกราคม 2566…นับเป็นบริษัทที่ 2 ในยุโรป ที่บริษัทเอสซีจี เคมิคอลส์ จำกัด (มหาชน)หรือ SCGC ซื้อกิจการ(Acquires)ของบริษัท Recycling Holding Volendam BV หรือ “Kras” (คราส) ผู้นำด้านการจัดการวัสดุเหลือใช้จากประเทศเนเธอร์แลนด์ และยังมีกิจการที่ครอบคลุมการรีไซเคิลพลาสติกตลอดทั้งห่วงโซ่ธุรกิจ ตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ พร้อมทั้งนำผลิตภัณฑ์กลุ่ม SCGC GREEN POLYMER™ รุกตลาดพลาสติกรีไซเคิลในทวีปยุโรปที่กำลังเติบโตอย่างต่อเนื่อง ช่วยเพิ่มศักยภาพและเสริมความแข็งแกร่งให้กับธุรกิจ ตั้งแต่การจัดเก็บ คัดแยก ผลิตเม็ดพลาสติกรีไซเคิล ครอบคลุมภาคครัวเรือนและอุตสาหกรรม
CIRCULAR ECONOMY