Browsing Tag
StartUp
18 สิงหาคม 2566…Kuori สตาร์ทอัพสัญชาติสวิสกำลังผลิตวัสดุยืดหยุ่น และย่อยสลายได้ทางชีวภาพเพื่อใช้แทนพลาสติกในรองเท้า
Continue Reading
14-15 สิงหาคม 2566…ภาพเปิดเรื่อง…แสงแดดส่องลงมาที่กองพะเนินของแผงโซลาร์เซลล์ที่ใช้ไม่ได้แล้วในเมืองยูมา รัฐแอริโซนา ทั้งหมดกองอย่างเป็นระเบียบ เพื่อรอให้นำไปใช้ได้ใหม่ แผงที่สึกหรอและเสียหายส่วนใหญ่ยังคงถูกทิ้งในหลุมฝังกลบ แต่เมื่อมีมากขึ้นเรื่อย ๆ หลายคนรู้ว่าจำเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลง
Continue Reading
14 มิถุนายน 2566…สตาร์ทอัพรายหนึ่งกำลังช่วยให้องค์กรต่างๆเห็นชัดถึงปัจจัยประกอบการตัดสินใจทางธุรกิจว่า บรรดาสัตว์ป่าให้ประโยชน์แก่พวกเขาอย่างไร
26-27 ธันวาคม 2565…แรงบันดาลใจจากธรรมชาติ ต้นโซลาร์เซลล์ของ SolarBothic ใช้นาโนเทคโนโลยีโซลาร์เซลล์รูปใบไม้ ใช้ฟิล์มบาง เพื่อควบคุมทั้งแสงอาทิตย์และพลังงานลม จากนั้นส่งไปยังโรงไฟฟ้า เพื่อชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า หรือเก็บไว้เพื่อใช้ในอนาคต
Continue Reading
26-27 พฤศจิกายน 2565…ขณะที่วิกฤติสภาพอากาศเร่งตัวขึ้น คุณอาจเป็นหนึ่งในผู้คนจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ ที่ตัดสินใจลาออกจากงานที่ทำอยู่ แล้วมุ่งความสนใจไปที่การแก้ปัญหา ด้วยการเปิดตัวสตาร์ทอัพเทคโนโลยีภูมิอากาศของคุณเอง แต่ถ้าคุณยังไม่เคยก่อตั้งบริษัทมาก่อน ก็ไม่จำเป็นต้องขุดลึกว่ากระบวนการระดมทุนทำงานอย่างไร เพราะ Mia Diawara หุ้นส่วนของ Lowercarbon Capital กองทุน VC ที่มุ่งเน้นการแก้ปัญหาสภาพอากาศซึ่งสนับสนุนเทคโนโลยีใหม่ ๆ มากมาย ตั้งแต่เอนไซม์ที่กินพลาสติกไปจนถึง “Bio Oil” ที่สามารถดูดมาจากใต้ดินแล้วนำมาใช้กักเก็บ CO2 ได้มาให้ข้อมูล
Continue Reading
19-20 พฤศจิกายน 2565…จากในอดีต ฟินแลนด์เคยเป็นประเทศ “เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม” มากที่สุดในโลก โครงการ R&D ที่แข็งแกร่งของฟินแลนด์ ทําให้ประเทศกลับมาอยู่ในระดับแนวหน้าของนวัตกรรมโซลูชันชีวภาพ และ Circular สําหรับวัสดุและบรรจุภัณฑ์อีกครั้ง
Continue Reading
30 มิถุนายน 2565…ข้อมูลจาก World Bank พบว่าโดยเฉลี่ยจะมีการสร้างขยะโดยรวมทั้งหมด 0.74 กิโลกรัม/คน/วัน โดยในปี 2564 องค์การสหประชาชาติ รายงานว่าโลกมีประชากรกว่า 7,700 ล้านคน จึงคำนวณได้ว่ามีขยะรวมทั่วโลกจำนวน 2.08 พันล้านตัน/ปี และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามจำนวนประชากร
Continue Reading
24-25 มิถุนายน 2565…จากการศึกษาของ Stockholm Environmental Institute ประเทศไทยก่อให้เกิดมลพิษจากขยะพลาสติกในมหาสมุทรสูงเป็นอันดับ 6 ของโลก การเข้าร่วมสนธิสัญญาพลาสติกดังกล่าวถือเป็นความท้าทายครั้งใหญ่สำหรับประเทศไทย ซึ่งรีไซเคิลพลาสติกเพียง 17.6% ของพลาสติกทั้งหมด แต่น่าเสียดายว่า มูลค่าของวัสดุประเภทพลาสติกกว่า 87% ในประเทศไทย ราว 2.88 ล้านตัน หรือราว 3.6 พันล้านเหรียญสหรัฐ ถูกทิ้งแทนที่จะถูกนำไปรีไซเคิลหรือ Upcycle ให้เป็นวัสดุที่มีค่าอีกครั้ง คงจะดีไม่น้อยหากทุกฝ่ายหันมาใช้ศักยภาพที่ตัวเองมี ร่วมมือกันหาทางออกกับปัญหานี้ไปด้วยกัน